นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ
https://youtu.be/LsLNFOqszeQ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน อาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พร้อมคณะผู้วิจัย ได้พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ (Prototype development of...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ประยุกต์ใช้กรดอะมิโนอิสระ ผสมในอาหารปลานิล ลดต้นทุนการผลิต
รศ.ดร. นพคุณ ภักดีณรงค์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กรดอะมิโนอิสระ Kera-Stim®...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์เครื่องตรวจวัดความหนาแน่นและความสดของไข่
https://www.youtube.com/watch?v=LETUCaXwKfM
เครื่องตรวจวัดความสดของไข่ เป็นการนำเสนอเทคนิคในการตรวจวัดความสดของไข่แบบไม่ทำลาย ผ่านการตรวจวัดความหนาแน่นของไข่ ซึ่งระบบที่นำเสนอสามารถทำการคัดแยกเกรด และระบุความสดของไข่ได้แบบเวลาจริง ระบบไม่ซับซ้อน...
การค้นพบไรน้ำออสตราคอดวงศ์ย่อยใหม่ของโลก จากอ่างเก็บน้ำหนองบัว จ.มหาสารคาม
ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประเภททุนส่งเสริมอาจารย์และนักวิจัยปีงบประมาณ 2565
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "ความหลากหลายทางชีวภาพของออสตราคอดในอ่างเก็บน้ำ หนองบัว อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม "ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ”แอคติโนแบคทีเรียสกุลใหม่และชนิดใหม่ของโลก และการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และการเกษตร”
แอคติโนแบคทีเรียหรือแอคติโนมัยซีท คือ แบคทีเรียแกรมบวก บางสกุลสร้างสปอร์ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีคล้ายคลึงกับเชื้อรา เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรีย (endophytic actinobacteria) คือ แอคติโนแบคทีเรียที่อาศัยที่อยู่ในเนื้อเยื่อพืชโดยไม่ก่อให้เกิดโทษ ในทางตรงกันข้ามจุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพได้หลากหลายชนิด เช่น สารปฏิชีวนะ สารต้านมะเร็ง สารต้านเบาหวาน สารลดอาการอักเสบ และสารกดภูมิคุ้มกัน...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาหอยในทางเดินอาหาร ของปลาสวายหนู
รศ.ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ ผศ.ดร. ศักดิ์บวร ตุ้มปี่สุวรรณ
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เพื่อต่อต้านเชื้อสาเหตุของโรค และกระตุ้นการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ
รศ.ดร.อภิเดช แสงดี ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผลงานวิจัยเรื่อง : คุณสมบัติการเป็นปฏิปักษ์และเหมืองจีโนมของเชื้อ Streptomyces spp. จากดินใน...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาลักษณะเฉพาะของบางปริภูมิเชิงทอพอโลยี
รศ.ดร.ชวลิต บุญปก ผศ.ดร.มนตรี ทองมูลภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณรายได้ ประจําปีงบประมาณ 2566
บทความเรื่อง “จุดเกิดเห็ด เรียนรู้เรื่องเห็ดป่าและใช้คัดแยกเห็ดไทย แอพพลิเคชั่นฝีมือคนไทย สแกนหาเห็ดพิษ” จากนิตยสาร The Cloud
เรียบเรียงโดย : สิทธิโชค ศรีโช จากนิตยสาร The cloudต้นฉบับบทความ ‘คัดแยกเห็ดไทย’ แอปพลิเคชันสแกนเห็ดพิษฝีมือคนไทย ตัวช่วยให้กินเห็ดป่าได้อย่างปลอดภัย (readthecloud.co)
กระบวนการเพิ่มความแข็งเชิงผิวของเหล็กกล้าเครื่องมือโดยการทำพลาสมาไนไตรดิงที่อุณหภูมิต่ำ
จากผลงานวิจัยเรื่อง : การชุบผิวแข็งของเหล็กกล้างานร้อนโดยใช้เทคโนโลยีพลาสมา Surface hardening of hot work steels using plasma technologyผศ.ดร....