หน่วยวิจัยเทคโนโลยีพลาสมาร่วมประชุมรายงานผลการวิจัยกับกรมอู่ทหารเรือ ณ อู่ทหารเรือธนบุรี กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ
หน่วยวิจัยเทคโนโลยีพลาสมาร่วมประชุมรายงานผลการวิจัยกับกรมอู่ทหารเรือ ณ อู่ทหารเรือธนบุรี กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2565
เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2565 คณะนักวิจัยจากหน่วยวิจัยเทคโนโลยีพลาสมา...
คณะวิทยาศาสตร์ ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ “สบู่สมุนไพรต้านอนุมูลอิสระและต้านแบคทีเรีย”
เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศูนย์ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา...
RESEARCH HIGHLIGHT SCI-MSU “พลาสติกชีวภาพครบวงจร”
https://youtu.be/Z2auFjkuSZQ
"พลาสติกชีวภาพครบวงจร" รองศาสตราจารย์ ดร.ยอดธง ใบมาก หน่วยปฏิบัติการวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ (Biodegradable Polymers...
หน่วยวิจัยเทคโนโลยีพลาสมาให้การต้อนรับคณะนักวิจัยจาก บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน ผศ.ดร.พิษณุ พูลเจริญศิลป์ และนิสิตหน่วยวิจัยเทคโนโลยีพลาสมา ได้ให้การต้อนรับคณะนักวิจัยจากบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) นำโดย คุณประพจน์ เกียรติโกมล ผู้จัดการส่วนกลยุทธ์เทคโนโลยีและนวัตกรรม...
กรมอู่ทหารเรือติดตามความก้าวหน้าโครงการวิจัยตามแผนงานการวิจัยและพัฒนาเพื่อดำรงสภาพยุทโธปกรณ์ของกองทัพ ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมอู่ทหารเรือ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เมื่อวันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 คณะนักวิจัยในนามของกองทัพเรือ โดยกรมอู่ทหารเรือ นำโดย นาวาเอกบพิธ ทศเทพพิทักษ์ ผอ.โรงเรียนช่างกรมอู่ทหารเรือ กศษ.กพช.อร. นาวาเอกกิตติ์ธนภูมิ...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ
นักวิจัย มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ (low Calorie) จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อยด้วยเอนไซม์ ย่อยแป้งอย่างเอนไซม์อะไมเลส และเป็นข้าวทางเลือกสำหรับผู้ที่จำกัดจำนวนแคลลอรี่ในอาหารในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดีของเราในปัจจุบันอีกหนึ่งทางเลือก จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อย(แคลอรี่ตํ่า)” โดยจังหวัดมหาสารคามร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านปลาบู่ ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากข้าวขาวดอกมะลิ 105...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
การค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และผู้ช่วยศาสตราจารย์...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุระดับนาโนเพื่อพัฒนาเป็นระบบนำส่งยาในสิ่งมีชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยปฏิบัติการวิจัยเคมีซูปราโมเลคิวลาร์ (Supramolecular Chemistry)
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ชูกำแพง พร้อมคณะ
สารละลายธาตุอาหารที่ใช้ในการผลิตพืชซีลีเนียมอินทรีย์สูงโดยการปลูกแบบไฮโดรโพนิกส์...