RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส นำเสนอเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ที่ช่วยในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยอันดับเศษส่วน

สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วนและการนำไปใช้ประโยชน์ สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วน (fractional differential equation) คือสมการเชิงอนุพันธ์ที่ปรากฏอนุพันธ์อันดับเศษส่วนในสมการ เป็นรูปทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์ที่มีอันดับเป็นจำนวนเต็มบวกที่คุ้นเคยกันดีในการเรียนระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม  ด้วยความที่อนุพันธ์อันดับเศษส่วนมีความละเอียดกว่าอนุพันธ์อันดับจำนวนเต็ม...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาหอยในทางเดินอาหาร ของปลาสวายหนู

รศ.ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ ผศ.ดร. ศักดิ์บวร ตุ้มปี่สุวรรณ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาหัววัด Liquid-Scintillator-Filled Capillaries สำหรับวัดนิวตรอนพลังงาน 14 MeV ในเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน

รศ.ดร. สิริยาภรณ์ แสงอรุณ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หัววัด Liquid-Scintillator-Filled...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมร่วมกับการประมวลผลภาพดิจิทัล เพื่อตรวจสอบพื้นที่ถูกเผาไหม้ จากไฟป่า

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมร่วมกับการประมวลผล ภาพดิจิทัลเพื่อตรวจสอบพื้นที่ถูกเผาไหม้จากไฟป่าทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566อ.ดร. ชัยภัทร พลายบัว. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม...

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน สิงหาคม 2567

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน สิงหาคม 2567 (นับจากวันที่ 26 ก.ค.-25 ส.ค.67) จำนวน 38 ผลงาน

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอันดับสูงสุดร้อยละ 10 ของสาขาTop 10% หรือ Tier 1 journal ในปี 2024

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมสได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอันดับสูงสุดร้อยละ 10 ของสาขาTop 10% หรือ Tier 1 journal ในปี 2024 (นับจากวันที่...

บทความเรื่อง “จุดเกิดเห็ด เรียนรู้เรื่องเห็ดป่าและใช้คัดแยกเห็ดไทย แอพพลิเคชั่นฝีมือคนไทย สแกนหาเห็ดพิษ” จากนิตยสาร The Cloud

เรียบเรียงโดย : สิทธิโชค ศรีโช จากนิตยสาร The cloudต้นฉบับบทความ ‘คัดแยกเห็ดไทย’ แอปพลิเคชันสแกนเห็ดพิษฝีมือคนไทย ตัวช่วยให้กินเห็ดป่าได้อย่างปลอดภัย (readthecloud.co)

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ออกแบบเครื่องกำเนิดสัญญาณความถี่สูง แบบสปินด์ทอล์ค เพื่อประยุกต์ใช้ในเทคโนโลยี การบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็ก

รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ.ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage Technology (MINT)

การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่" ชื่อทุนอุดหนุน  : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2565ผู้เรียบเรียง   :   รศ.ดร....