RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมร่วมกับการประมวลผลภาพดิจิทัล เพื่อตรวจสอบพื้นที่ถูกเผาไหม้ จากไฟป่า

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมร่วมกับการประมวลผล ภาพดิจิทัลเพื่อตรวจสอบพื้นที่ถูกเผาไหม้จากไฟป่าทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566อ.ดร. ชัยภัทร พลายบัว. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม...

เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ 𝑺𝒕𝒓𝒆𝒑𝒕𝒐𝒎𝒚𝒄𝒆𝒔 𝒑𝒉𝒚𝒕𝒐𝒑𝒉𝒊𝒍𝒂 sp. nov. ที่มีความสามารถในการผลิตสารปฏิชีวนะ

รศ.ดร. อรอุมา แก้วกล้า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แอคติโนแบคทีเรีย (Actinobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมบวก...

การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพ แบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพแบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว ชื่อทุนอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีงบประมาณ 2566

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มมส ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2567

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2567 (โดยรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2567) จำนวน 39 ผลงานที่มา : งานวิจัย...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาแบบจำลองขั้นสูงสำหรับการออกแบบ โครงสร้างรอยต่อทะลุผ่านเชิงแม่เหล็ก สำหรับการประยุกต์ใช้กับหน่วยความจำเข้าถึงแบบสุ่ม ในอนาคต

รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ. ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage...

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับอนุมัติจัดตั้งและสนับสนุนหน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ในระดับมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ประกาศจัดตั้งและสนับสนุนหน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ให้มีความสามารถพัฒนางานวิจัยไปสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ และเพื่อให้ได้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตลอดถึงการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพสูงตามนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของเอเชีย ซึ่งมีพันธกิจที่จะพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาคาม ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย ให้เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาผลงานวิจัยให้บรรลุตามเป้าหมาย...

“ไดโนสุข” จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายสายพันธุ์

"ไดโนสุข" อาจารย์ ดร.สุรเวช สุธีธร อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายพันธุ์ที่มา : The Cloud...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียจากพืชสมุนไพรไทยสมัดใหญ่ (𝐶𝑙𝑎𝑢𝑠𝑒𝑛𝑎 𝑒𝑥𝑐𝑎𝑣𝑎𝑡𝑎 Burm. f.)

โรคมาลาเรีย (ไข้จับสั่นหรือไข้ป่า) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม (Plasmodium) เป็นปัญหาแพร่ระบาดในประเทศเขตร้อน ที่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ การแพร่ระบาดของมาลาเรียพบได้ในแถบเอเชีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชากรโลกโดยรวม ในประเทศไทยก็ยังพบการแพร่ระบาดของมาลาเรียตามจังหวัดชายแดน อีกทั้งเชื้อพลาสโมเดียมที่เป็นสาเหตุของโรคยังเกิดการดื้อยาที่ใช้ในการรักษาในปัจจุบัน ดังนั้นการค้นหาหรือคิดค้นตัวยาใหม่ที่มีฤทธิ์ในการรักษามาลาเรียจึงเป็นสิ่งจำเป็น...

การสลับสีของเม็ดสีอะคริลิคเทอร์โมโครมิก

การสลับสีของเม็ดสีอะคริลิคเทอร์โมโครมิก (Thermochromic A Crylic Colour Switch Pigments )นายธนพล มีสัมพันธ์ นางสาววรรณทิพย์ แสนสิมมา และรองศาสตราจารย์...