นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาสูตรสำเร็จเชื้อรา 𝑇𝑟𝑖𝑐ℎ𝑜𝑑𝑒𝑟𝑚𝑎 𝑎𝑠𝑝𝑒𝑟𝑒𝑙𝑙𝑢𝑚 MSU007 ชนิดน้ำ เพื่อประยุกต์ใช้ในภาคการเกษตร ลดปริมาณการใช้สารเคมี
รศ.ดร.วราภรณ์ สุทธิสา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เกษตรกรรมเป็นภาคการผลิตที่สำคัญของประเทศไทย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงประสบปัญหาเกี่ยวกับการระบาดของโรคพืช โดยโรคพืชเป็นอุปสรรคสำคัญในการผลิตพืชเนื่องจากมีผลกระทบต่อคุณภาพของพืชโดยตรง...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการเกิดพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ของเห็ดพิษในสกุล 𝑬𝒏𝒕𝒐𝒍𝒐𝒎𝒂 โดยใช้ข้อมูลทางอณูชีววิทยา และเป็นการรายงานผลครั้งแรกในประเทศไทย
รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามงานวิจัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ภายใต้ MoU มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารยับยั้งต่อการทำงาน ของโปรตีนฮีแมกกลูตินินของเชื้อไข้หวัดใหญ่ ด้วยระเบียบวิธีการจำลองพลวัติเชิงโมเลกุล
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารยับยั้งต่อการทํางานของโปรตีนฮีแมกกลูตินินของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ด้วยระเบียบวิธีการจําลองพลวัติเชิงโมเลกุล"
ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย งบประมาณ เงินรับฝาก ประจําปีงบประมาณ 2565 ประเภททุน Fundamental...
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มมส ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2567
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2567 (โดยรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-29 กุมภาพันธ์ 2567) จำนวน 18 ผลงานที่มา : งานวิจัย...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ออกแบบเครื่องกำเนิดสัญญาณความถี่สูง แบบสปินด์ทอล์ค เพื่อประยุกต์ใช้ในเทคโนโลยี การบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็ก
รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ.ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage Technology (MINT)
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ร่วมกับนักวิจัยไทย ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ต่อต้านการเกิดโรค และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
รศ.ดร.อภิเดช แสงดี ผศ.ดร.จุฑาพร แสงประจักษ์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณะ
ทุนสนับสนุนการวิจัย...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาลักษณะการกําจัดเกลือของกกสองชนิด เพื่อเป็นตัวเลือกในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม
ถอดบทเรียนจากผลงานวิจัยเรื่อง : การศึกษาลักษณะการกําจัดเกลือของกกสองชนิด เพื่อเป็นตัวเลือกในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม (Study Phytodesalinized Characteristics of Two Sedge Species as...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส นำเสนอเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ที่ช่วยในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยอันดับเศษส่วน
สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วนและการนำไปใช้ประโยชน์
สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วน (fractional differential equation) คือสมการเชิงอนุพันธ์ที่ปรากฏอนุพันธ์อันดับเศษส่วนในสมการ เป็นรูปทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์ที่มีอันดับเป็นจำนวนเต็มบวกที่คุ้นเคยกันดีในการเรียนระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ด้วยความที่อนุพันธ์อันดับเศษส่วนมีความละเอียดกว่าอนุพันธ์อันดับจำนวนเต็ม...
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มมส ประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2567
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2567 (โดยรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-31 มกราคม 2567) จำนวน 39 ผลงานที่มา : งานวิจัย...
บทความเรื่อง “จุดเกิดเห็ด เรียนรู้เรื่องเห็ดป่าและใช้คัดแยกเห็ดไทย แอพพลิเคชั่นฝีมือคนไทย สแกนหาเห็ดพิษ” จากนิตยสาร The Cloud
เรียบเรียงโดย : สิทธิโชค ศรีโช จากนิตยสาร The cloudต้นฉบับบทความ ‘คัดแยกเห็ดไทย’ แอปพลิเคชันสแกนเห็ดพิษฝีมือคนไทย ตัวช่วยให้กินเห็ดป่าได้อย่างปลอดภัย (readthecloud.co)