RESEARCH HIGHLIGHT

เห็ดพิษชนิดอะไร? ตรวจสอบด้วยนวัตกรรม Application บนโทรศัพท์มือถือ ยุคไทยแลนด์ 4.0

บทความโดย : รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ในปี พ.ศ. 2562 (เดือนมกราคม-เดือนกันยายน) มีรายงานผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากเห็ดพิษที่มาจากป่าธรรมชาติมากถึง 1,176 ราย และมีรายงานการเสียชีวิต 3...

อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนช่วยเหลือด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุศักดิ์ ขันคำ อาจารย์สังกัดภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับทุนช่วยเหลือด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากมูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (Thailand Toray...

“แมลงริ้นดำ สปีชีส์ใหม่ของโลกในประเทศไทย”

“แมลงริ้นดำ สปีชีส์ใหม่ของโลกในประเทศไทย”ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แมลงริ้นดำ (black...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาชีวภัณฑ์ในรูปแบบผง ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน

จากผลงานวิจัย : การประยุกต์ใช้สูตรสำเร็จ Trichoderma asperellum MSU007 ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน (Application of Trichoderma asperellum...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ”แอคติโนแบคทีเรียสกุลใหม่และชนิดใหม่ของโลก และการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และการเกษตร”

แอคติโนแบคทีเรียหรือแอคติโนมัยซีท คือ แบคทีเรียแกรมบวก บางสกุลสร้างสปอร์ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีคล้ายคลึงกับเชื้อรา เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรีย (endophytic actinobacteria) คือ แอคติโนแบคทีเรียที่อาศัยที่อยู่ในเนื้อเยื่อพืชโดยไม่ก่อให้เกิดโทษ ในทางตรงกันข้ามจุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพได้หลากหลายชนิด เช่น สารปฏิชีวนะ สารต้านมะเร็ง สารต้านเบาหวาน สารลดอาการอักเสบ และสารกดภูมิคุ้มกัน...

วช.หนุน ม.มหาสารคาม ปูทางสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพครบวงจร

จากกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลให้ “พลาสติกชีวภาพ (Bio plastic)” ได้เริ่มเป็นที่กล่าวถึงและได้รับความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ  เพราะสามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ประเทศไทยจึงอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบเพราะเป็นฐานการเกษตรใหญ่ที่สุดในอาเซียน แต่สถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยกลับอยู่ในช่วงเริ่มต้น มีผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพเพียงเล็กน้อยโดยนำเข้าเม็ดพลาสติกชีวภาพจากต่างประเทศเกือบทั้งหมด เพื่อนำมาขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยเครื่องจักรผลิตพลาสติกธรรมดา...