RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ มมส พบซาก “ปลาปอด” ชนิดใหม่ของโลก อายุ 150 ล้านปี

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2563 ณ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม...

โครงการชาวนามืออาชีพ โครงการที่บูรณาการงานวิจัยร่วมกับชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม

https://www.youtube.com/watch?v=ZpvCIKYrras ชื่อโครงการ: การยกระดับอาชีพเกษตรกรผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาสด้วยการพัฒนาทักษะอาชีพการเป็นชาวนาพึ่งพาตนเองได้ในวิถีความปกติใหม่...

ไมโครเวฟเซ็นเซอร์สำหรับตรวจวัดความเข้มข้นของน้ำตาล

น้ำตาล (sugar) เป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ (monosaccharide) และไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide) ซึ่งมีอยู่ในพืช ผลไม้ อาหาร และเครื่องดื่มต่าง ๆ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการพัฒนาฟิล์มเซลลูโลสจากธูปฤาษีเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์อาหาร

รศ.ดร.ประสงค์ สีหานาม นางสาวสุภัคศิริ คำก้อน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2565...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”

อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21476 เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต ผศ.ดร. รักฤดี สารธิมา ผศ.ดร....

การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพ แบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพแบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว ชื่อทุนอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีงบประมาณ 2566

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส นำเสนอเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ที่ช่วยในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยอันดับเศษส่วน

สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วนและการนำไปใช้ประโยชน์ สมการเชิงอนุพันธ์อันดับเศษส่วน (fractional differential equation) คือสมการเชิงอนุพันธ์ที่ปรากฏอนุพันธ์อันดับเศษส่วนในสมการ เป็นรูปทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์ที่มีอันดับเป็นจำนวนเต็มบวกที่คุ้นเคยกันดีในการเรียนระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม  ด้วยความที่อนุพันธ์อันดับเศษส่วนมีความละเอียดกว่าอนุพันธ์อันดับจำนวนเต็ม...

อุปกรณ์กำเนิดลำพลาสมาแบบหลายลำพ่นที่ดำเนินการได้ในสภาวะความดันหนึ่งบรรยากาศ

ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน และคณะ ได้ทำการพัฒนาหัวกำเนิดพลาสมาเจ็ตที่ความดันบรรยากาศรูปแบบต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้สำหรับงานเคลือบผิว (plasma surface coating) หรือปรับปรุงผิว (plasma surface modification) โดยใช้หลักการปล่อยแก๊สให้ไหลผ่านขั้วไฟฟ้าที่มีลักษณะเป็นรูเล็กๆ ที่บริเวณดังกล่าวต้องทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าด้วยแอมปลิจูดและความถี่สูง โมเลกุลของแก๊สที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงผ่านรูเล็กจะเกิดการชนกันเองมากขึ้น ในขณะเดียวกันอิเล็กตรอนที่ถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมาจะชนกับโมเลกุลของแก๊สด้วยความถี่สูงด้วยเช่นกัน...

ออร์นิธิสเชียน ไดโนเสาร์กินพืชสะโพกนกในประเทศไทย

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "ออร์นิธิสเชียน ไดโนเสาร์กินพืชสะโพกนกในประเทศไทย" ชื่อทุนอุดหนุน : ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภททุนส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ (Fast Track) งบประมาณ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการขยายพันธุ์ในหลอดทดลอง และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของปราบสมุทร

รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพร แสนสุขภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปราบสมุทร (Kaempferia angustifolia) เป็นพืชในสกุลเปราะ...