นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบจีโนมไวรัส BmNPV ของหนอนไหม สายพันธุ์ประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริภัค...
“ไดโนสุข” จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายสายพันธุ์
"ไดโนสุข" อาจารย์ ดร.สุรเวช สุธีธร อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายพันธุ์ที่มา : The Cloud...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการ ของหอยงวงท่อ 𝑅ℎ𝑖𝑜𝑠𝑡𝑜𝑚𝑎 Benson, 1860 ในประเทศไทย
รศ.ดร.ปิยะธิดา พิมพ์วิชัย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายงานวิจัย งบประมาณเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ “อัญมณีแห่งผืนป่า” กิ้งกือกระสุนเทอร์คอยส์ (turquoise) สปีชีส์ใหม่ของโลกจากประเทศไทยโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcode)
รศ.ดร.ปิยะธิดา พิมพ์วิชัย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบกิ้งกือกระสุน Sphaerobelum turcosa Srisonchai & Pimvichai, 2023...
“นักวิจัยคณะวิทย์ มมส ทดสอบอาหารเสริมพืชสูตรซุปเปอร์ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืน”
“เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืนด้วยวิทยาศาสตร์” “Sustainable Agriculture by Science: SDGs”
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ศึกษาอิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง
อิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช
ชื่อทุนอุดหนุน
Fundamental Fund ประจําปีงบประมาณ
2566
คณะผู้วิจัย นางสาวเยาวลักษณ์...
ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส รายงานการค้นพบแมลงริ้นดำในแม่น้ำโขง ครั้งแรกในโลก
The concentration of larval black flies in...
คณะวิทยาศาสตร์ ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ “สบู่สมุนไพรต้านอนุมูลอิสระและต้านแบคทีเรีย”
เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศูนย์ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา...
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน สิงหาคม 2567
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน สิงหาคม 2567 (นับจากวันที่ 26 ก.ค.-25 ส.ค.67) จำนวน 38 ผลงาน
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร จากเครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้า
เครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้าให้มีคุณภาพคงที่และเป็นที่น่าพอใจต่อผู้บริโภค
สิ่งสำคัญของเครื่องนี้คือการวัดสีให้ได้รูปแบบที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตต้องการและมีความน่าสนใจสำหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ยังสามารถวัดความเค็มเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความพอดีของปลาร้า ซึ่งจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีความอร่อยและสม่ำเสมอในทุกชุดของการผลิต