พืชวงศ์ขิงชนิดใหม่ของโลก
1. ว่านตูบหมูบสารคาม (Kaempferia mahasarakhamensis
Saensouk & P. Saensouk)
...
ช้อนกาแฟพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อก-พอลิแลคติกแอซิด
รองศาสตราจารย์ ดร. ยอดธง ใบมาก และคณะหน่วยวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม E-mail address : [email protected]
นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”
เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง...
นักวิจัยคณะวิทย์ฯ มมส ค้นพบกิ้งกือกระบอกสกุลใหม่ของโลก (new genus) จำนวนกว่า 10 สปีชีส์
ผศ.ดร. ปิยะธิดา พิมพ์วิชัยภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ค้นพบกิ้งกือกระบอกสกุลใหม่ของโลก (new...
นักวิจัย คณะวิทย์ฯ มมส ใช้การจำลองโมเลกุลเพื่อศึกษาและออกแบบวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิตชนิดใหม่
การออกแบบและการจำลองโมเลกุลวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิต(Molecular modeling and simulation of polymer...
โครงการบูรณาการสหวิทยาเพื่อการพัฒนาชุมชนคำแคนอย่างยั่งยืน
ชุมชนคำแคนตั้งอยู่ที่ตำบลคำแคน อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น เป็นชุมชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้แก่การทำนา ไร่อ้อย และไร่มันสำปะหลังเป็นหลัก แต่ด้วยทำเลที่ตั้งอยู่ไม่ห่างจากตัวจังหวัดมากนักจึงมีการลงทุนทำฟาร์มสุกรและฟาร์มไก่อีกอาชีพหนึ่ง...
นักวิจัยคณะวิทย์ฯ มมส ค้นพบการบำบัดน้ำเสียโดยอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาโฟโตคะตะไลซิสแบบอนุภาคทรงกลมกลวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา เหลากูล และคณะภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ในปัจจุบันการปนเปื้อนสารเคมีและโลหะหนักในแหล่งน้ำธรรมชาติยิ่งทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศน์...
โปรตีนสกัดจากข้าวไทยที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รักฤดี สารธิมาภาควิชาเคมี...
เห็ดพิษชนิดอะไร? ตรวจสอบด้วยนวัตกรรม Application บนโทรศัพท์มือถือ ยุคไทยแลนด์ 4.0
บทความโดย : รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล
ในปี พ.ศ. 2562 (เดือนมกราคม-เดือนกันยายน) มีรายงานผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากเห็ดพิษที่มาจากป่าธรรมชาติมากถึง 1,176 ราย และมีรายงานการเสียชีวิต 3...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ”แอคติโนแบคทีเรียสกุลใหม่และชนิดใหม่ของโลก และการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และการเกษตร”
แอคติโนแบคทีเรียหรือแอคติโนมัยซีท คือ แบคทีเรียแกรมบวก บางสกุลสร้างสปอร์ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีคล้ายคลึงกับเชื้อรา เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรีย (endophytic actinobacteria) คือ แอคติโนแบคทีเรียที่อาศัยที่อยู่ในเนื้อเยื่อพืชโดยไม่ก่อให้เกิดโทษ ในทางตรงกันข้ามจุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพได้หลากหลายชนิด เช่น สารปฏิชีวนะ สารต้านมะเร็ง สารต้านเบาหวาน สารลดอาการอักเสบ และสารกดภูมิคุ้มกัน...