RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ศึกษาอิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง อิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช ชื่อทุนอุดหนุน Fundamental Fund ประจําปีงบประมาณ 2566 คณะผู้วิจัย นางสาวเยาวลักษณ์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก

รศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับทีมวิจัยจากกรมทรัพยากรธรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและทีมวิจัยจากประเทศฝรั่งเศส สำรวจและค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก จากเหมืองถ่านหินเชียงม่วน จ.พะเยา และเหมืองถ่านหินแม่เมาะ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ร่วมกับสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช ศึกษาความหลากหลายและการใช้ประโยชน์ พืชวงศ์ขิง ในจังหวัดนครนายก

รศ.ดร.ปิยะพร แสนสุข ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ รศ.ดร.สุรพล แสนสุข สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช นายธวัชพงศ์ บุญมา นิสิตระดับปริญญาเอก สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบไรน้ำออสตราคอดชนิดใหม่ของโลกจากจังหวัดกาญจนบุรี

Savatenalinton, S. (2023). On Chrissia muangkanensis, new species (Crustacea, Ostracoda) from Thailand, with notes on taxonomic characters...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ประยุกต์ใช้กรดอะมิโนอิสระ ผสมในอาหารปลานิล ลดต้นทุนการผลิต

รศ.ดร. นพคุณ ภักดีณรงค์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กรดอะมิโนอิสระ Kera-Stim®...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาหัววัด Liquid-Scintillator-Filled Capillaries สำหรับวัดนิวตรอนพลังงาน 14 MeV ในเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน

รศ.ดร. สิริยาภรณ์ แสงอรุณ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หัววัด Liquid-Scintillator-Filled...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาสารต้านมาลาเรียจากเปลือกต้นสันโสก ซึ่งอาจนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในการออกแบบตัวยาในอนาคต

รศ.ดร.ประไพรัตน์ สีพลไกร รศ.ดร.ชาติไทย แก้วทอง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณะ การศึกษาทางเคมีของพืชสมุนไพร...