RESEARCH HIGHLIGHT

บทความเชิงข่าว “เลือดใครในกายเธอ”

ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง ความหลากหลายและนิเวศวิทยาของแมลงที่เป็นปรสิตภายนอกและเป็นพาหะของเชื้อก่อโรคในไก่พื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยทุนอุดหนุนการวิจัยวิจัยงบประมาณเงินรายได้ประเภททุนนักวิจัยอาวุโส ประจำปี...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตรจากครีมสมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัด ใบว่านมหากาฬ และกระบวนการผลิต

ครีมสมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัดใบว่านมหากาฬตามการประดิษฐ์นี้ เป็นอิมัลชันชนิดน้ํามันในน้ํา (oil in water emulsion) ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ (1) ส่วนที่เป็นวัฏภาคน้ํา...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการพัฒนาฟิล์มเซลลูโลสจากธูปฤาษีเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์อาหาร

รศ.ดร.ประสงค์ สีหานาม นางสาวสุภัคศิริ คำก้อน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2565...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาสมการไดโอแฟนไทน์ 𝑎ˣ+(𝑎+2)ʸ=z² เมื่อ 𝑎 เป็นจำนวนเต็มบวกซึ่ง 𝑎≡⁣₂₁5

ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ งบประมาณเงินรายได้ ปีงบประมาณ 2566ผศ.ดร. นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ ผศ.ดร. โชคชัย วิริยะพงษ์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาแบบจำลองขั้นสูงสำหรับการออกแบบ โครงสร้างรอยต่อทะลุผ่านเชิงแม่เหล็ก สำหรับการประยุกต์ใช้กับหน่วยความจำเข้าถึงแบบสุ่ม ในอนาคต

รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ. ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการขยายพันธุ์ในหลอดทดลอง และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของปราบสมุทร

รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพร แสนสุขภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปราบสมุทร (Kaempferia angustifolia) เป็นพืชในสกุลเปราะ...

การดูดซับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์บนแผ่นนาโนโบรอนไนไตรด์เจือโลหะแทรนซิชัน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโนภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงทฤษฎี การดูดซับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) บนแผ่นนาโนโบรอนไนไตรด์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร จากเครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้า

เครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้าให้มีคุณภาพคงที่และเป็นที่น่าพอใจต่อผู้บริโภค สิ่งสำคัญของเครื่องนี้คือการวัดสีให้ได้รูปแบบที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตต้องการและมีความน่าสนใจสำหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ยังสามารถวัดความเค็มเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความพอดีของปลาร้า ซึ่งจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีความอร่อยและสม่ำเสมอในทุกชุดของการผลิต

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบสารออกฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรียจากพืชสมุนไพรไทยสมัดใหญ่ (𝐶𝑙𝑎𝑢𝑠𝑒𝑛𝑎 𝑒𝑥𝑐𝑎𝑣𝑎𝑡𝑎 Burm. f.)

โรคมาลาเรีย (ไข้จับสั่นหรือไข้ป่า) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัวพลาสโมเดียม (Plasmodium) เป็นปัญหาแพร่ระบาดในประเทศเขตร้อน ที่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ การแพร่ระบาดของมาลาเรียพบได้ในแถบเอเชีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชากรโลกโดยรวม ในประเทศไทยก็ยังพบการแพร่ระบาดของมาลาเรียตามจังหวัดชายแดน อีกทั้งเชื้อพลาสโมเดียมที่เป็นสาเหตุของโรคยังเกิดการดื้อยาที่ใช้ในการรักษาในปัจจุบัน ดังนั้นการค้นหาหรือคิดค้นตัวยาใหม่ที่มีฤทธิ์ในการรักษามาลาเรียจึงเป็นสิ่งจำเป็น...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”

อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21476 เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต ผศ.ดร. รักฤดี สารธิมา ผศ.ดร....