เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ 𝑺𝒕𝒓𝒆𝒑𝒕𝒐𝒎𝒚𝒄𝒆𝒔 𝒑𝒉𝒚𝒕𝒐𝒑𝒉𝒊𝒍𝒂 sp. nov. ที่มีความสามารถในการผลิตสารปฏิชีวนะ
รศ.ดร. อรอุมา แก้วกล้า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แอคติโนแบคทีเรีย (Actinobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมบวก...
สารหลั่งป้องกันตัวของกิ้งกือกระบอกยักษ์ องค์ประกอบทางเคมี และคุณสมบัติต้านเชื้อจุลชีพ
ผศ.ดร.วราภรณ์ สุทธิสา ผศ.ดร.วิชญ รัชตเวชกุล รศ.ดร.ปิยะธิดา พิมพ์วิชัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะวิทยาศาสตร์ ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ “สบู่สมุนไพรต้านอนุมูลอิสระและต้านแบคทีเรีย”
เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศูนย์ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการขยายพันธุ์ในหลอดทดลอง และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของปราบสมุทร
รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพร แสนสุขภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ปราบสมุทร (Kaempferia angustifolia) เป็นพืชในสกุลเปราะ...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิธีเพิ่มความยืดหยุ่นให้พลาสติกชีวภาพ
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง สัณฐานวิทยาเฟส, สมบัติเชิงกล และสมบัติเชิงความร้อนของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์เสริมแรงด้วยแคลเซียมคาร์บอเนตคณะผู้วิจัย : รองศาสตราจารย์ยอดธง ใบมาก รองศาสตราจารย์ประสงค์ สีหานามและอาจารย์วิริยา ทองสมบูรณ์หน่วยวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ ภาควิชาเคมี...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ “อัญมณีแห่งผืนป่า” กิ้งกือกระสุนเทอร์คอยส์ (turquoise) สปีชีส์ใหม่ของโลกจากประเทศไทยโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcode)
รศ.ดร.ปิยะธิดา พิมพ์วิชัย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบกิ้งกือกระสุน Sphaerobelum turcosa Srisonchai & Pimvichai, 2023...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เพื่อต่อต้านเชื้อสาเหตุของโรค และกระตุ้นการเจริญเติบโตของมะเขือเทศ
รศ.ดร.อภิเดช แสงดี ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผลงานวิจัยเรื่อง : คุณสมบัติการเป็นปฏิปักษ์และเหมืองจีโนมของเชื้อ Streptomyces spp. จากดินใน...
ไมโครเวฟเซ็นเซอร์สำหรับตรวจวัดความเข้มข้นของน้ำตาล
น้ำตาล (sugar) เป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ (monosaccharide) และไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide) ซึ่งมีอยู่ในพืช ผลไม้ อาหาร และเครื่องดื่มต่าง ๆ...
วช.หนุน ม.มหาสารคาม ปูทางสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพครบวงจร
จากกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลให้ “พลาสติกชีวภาพ (Bio plastic)” ได้เริ่มเป็นที่กล่าวถึงและได้รับความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะสามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ประเทศไทยจึงอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบเพราะเป็นฐานการเกษตรใหญ่ที่สุดในอาเซียน แต่สถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยกลับอยู่ในช่วงเริ่มต้น มีผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพเพียงเล็กน้อยโดยนำเข้าเม็ดพลาสติกชีวภาพจากต่างประเทศเกือบทั้งหมด เพื่อนำมาขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยเครื่องจักรผลิตพลาสติกธรรมดา...
หอยหางดิ้นสีนิล: หอยทากบกชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
รศ.ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และ ผศ.ดร.ศักดิ์บวร ตุ้มปี่สุวรรณ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับ ผศ.ดร. กิตติ...