นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาชีวภัณฑ์ในรูปแบบผง ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน
จากผลงานวิจัย : การประยุกต์ใช้สูตรสำเร็จ Trichoderma asperellum MSU007 ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน (Application of Trichoderma asperellum...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุระดับนาโนเพื่อพัฒนาเป็นระบบนำส่งยาในสิ่งมีชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยปฏิบัติการวิจัยเคมีซูปราโมเลคิวลาร์ (Supramolecular Chemistry)
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์ (Enhancing the recording performance of next generation of hard disk drive...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ศึกษาอิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง
อิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช
ชื่อทุนอุดหนุน
Fundamental Fund ประจําปีงบประมาณ
2566
คณะผู้วิจัย นางสาวเยาวลักษณ์...
“ไดโนสุข” จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายสายพันธุ์
"ไดโนสุข" อาจารย์ ดร.สุรเวช สุธีธร อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จากทายาทผู้บุกเบิกวงการไดโนเสาร์ไทย สู่ผู้ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธ์ใหม่หลายพันธุ์ที่มา : The Cloud...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ “อัญมณีแห่งผืนป่า” กิ้งกือกระสุนเทอร์คอยส์ (turquoise) สปีชีส์ใหม่ของโลกจากประเทศไทยโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcode)
รศ.ดร.ปิยะธิดา พิมพ์วิชัย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบกิ้งกือกระสุน Sphaerobelum turcosa Srisonchai & Pimvichai, 2023...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาสารต้านมาลาเรียจากเปลือกต้นสันโสก ซึ่งอาจนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในการออกแบบตัวยาในอนาคต
รศ.ดร.ประไพรัตน์ สีพลไกร รศ.ดร.ชาติไทย แก้วทอง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณะ
การศึกษาทางเคมีของพืชสมุนไพร...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอันดับสูงสุดร้อยละ 10 ของสาขาTop 10% หรือ Tier 1 journal ในปี 2024 (นับจากวันที่ 8-25...
1) ศ.ดร.ไพโรจน์ ประมวล ตีพิมพ์ในวารสาร: Emerging infectious diseases ISSN: 1080-6040 รายละเอียดผลงานวิจัย: https://wwwnc.cdc.gov/eid/article/30/9/23-1692_article
2) รศ.ดร.ขนิษฐา สมตระกูล...
ไลเคน…ชนิดใหม่ของโลกและดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ
รองศาสตราจารย์ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุลภาควิชาชีววิทยาและพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ไลเคน คือ สิ่งมีชีวิตสองชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (symbiosis) ไลเคนกําเนิดจากราและสาหร่ายท่ีมีความเฉพาะเจาะจงชนิดต่อกันเท่านั้น (คล้ายกับเนื้อคู่หรือ soulmate) ราสามารถจับคู่กับสาหร่ายสีเขียว (green...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก
รศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับทีมวิจัยจากกรมทรัพยากรธรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและทีมวิจัยจากประเทศฝรั่งเศส สำรวจและค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก จากเหมืองถ่านหินเชียงม่วน จ.พะเยา และเหมืองถ่านหินแม่เมาะ...