RESEARCH HIGHLIGHT

“แมลงริ้นดำ สปีชีส์ใหม่ของโลกในประเทศไทย”

“แมลงริ้นดำ สปีชีส์ใหม่ของโลกในประเทศไทย”ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แมลงริ้นดำ (black...

กิ้งกือกระบอกเล็กชนิดใหม่ของโลกจากสกุล 𝘊𝘰𝘹𝘰𝘣𝘰𝘭𝘦𝘭𝘭𝘶𝘴 Pimvichai et al., 2020 สองชนิดจากประเทศไทย

งานวิจัยใหม่: กิ้งกือกระบอกเล็กชนิดใหม่ของโลกจากสกุล 𝘊𝘰𝘹𝘰𝘣𝘰𝘭𝘦𝘭𝘭𝘶𝘴 Pimvichai et al., 2020 สองชนิดจากประเทศไทย คณะผู้วิจัยนำโดย...

การใช้แบคทีเรียกลุ่มสนับสนุนการเจริญเติบโตของพืชในสภาวะแล้งและเค็ม

การใช้แบคทีเรียกลุ่มสนับสนุนการเจริญเติบโตของพืชในสภาวะแล้งและเค็ม"สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชเศรษฐกิจโดย Streptomyces sp. ภายใต้ความเครียดจากความแล้งและความเค็ม ชื่อทุน  ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อเสริมสร้างงานวิจัย งบประมาณเงินรายได้...

เห็ดพิษชนิดอะไร? ตรวจสอบด้วยนวัตกรรม Application บนโทรศัพท์มือถือ ยุคไทยแลนด์ 4.0

บทความโดย : รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ในปี พ.ศ. 2562 (เดือนมกราคม-เดือนกันยายน) มีรายงานผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากเห็ดพิษที่มาจากป่าธรรมชาติมากถึง 1,176 ราย และมีรายงานการเสียชีวิต 3...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส คว้ารางวัลเวทีระดับโลก

คณะวิทยาศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน อาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คว้ารางวัลผลงานนวัตกรรม Bronze Medal จากการเข้าร่วมประกวดในเวทีนานาชาติ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการเกิดพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ของเห็ดพิษในสกุล 𝑬𝒏𝒕𝒐𝒍𝒐𝒎𝒂 โดยใช้ข้อมูลทางอณูชีววิทยา และเป็นการรายงานผลครั้งแรกในประเทศไทย

รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามงานวิจัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ภายใต้ MoU มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์...

การค้นพบหอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลก จากแม่น้ำชี บริเวณบ้านท่าขอนยาง และบ้านท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม

รองศาสตราจารย์ ดร. บังอร กองอิ้มภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม หอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลกนี้มีความยาวของเปลือกถึง...

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”

เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง...