การค้นพบไรน้ำออสตราคอดเผ่าใหม่ สกุลใหม่ และชนิดใหม่ของโลก จากพื้นที่ชุ่มนํ้าลุ่มนํ้าสงครามตอนล่าง
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง : โครงสร้างชุมชนของออสตราคอดนํ้าจืด (ครัสเตเชีย : ออสตราโคดา) ในพื้นที่ชุ่มนํ้าลุ่มนํ้าสงครามตอนล่าง ชื่อทุนอุดหนุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส การศึกษาพลวัติการแพร่เชื้อและการหมดไปของโรคโควิด-19
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติยา เทพารส ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณรายได้ ประจำปีงบประมาณ...
ไลเคน…ชนิดใหม่ของโลกและดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ
รองศาสตราจารย์ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุลภาควิชาชีววิทยาและพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ไลเคน คือ สิ่งมีชีวิตสองชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (symbiosis) ไลเคนกําเนิดจากราและสาหร่ายท่ีมีความเฉพาะเจาะจงชนิดต่อกันเท่านั้น (คล้ายกับเนื้อคู่หรือ soulmate) ราสามารถจับคู่กับสาหร่ายสีเขียว (green...
ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส รายงานการค้นพบแมลงริ้นดำในแม่น้ำโขง ครั้งแรกในโลก
The concentration of larval black flies in...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สร้างระบบตรวจวัดสารตกค้างในตัวอย่างอาหาร
รศ.ดร. จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตีพิมพ์ในวารสาร : RCS Advances (ISI Q2...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สร้างเครื่องมือระดับโมเลกุลต้นทุนต่ำ ตรวจจับและแยกไอออนของทองคำ
รศ.ดร.ชาติไทย แก้วทอง ผศ.ดร.บรรจบ วันโนภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผลงานวิจัยเรื่อง : Rhodamine based-molecular chemosensors and...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สำรวจและค้นพบพืชในวงศ์บอน (Araceae) ชนิดใหม่ของโลกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
รศ.ดร.วิลาวัณย์ พร้อมพรม รศ.ดร.วรรณชัย ชาแท่น และคณะฯภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส...
การศึกษาเปรียบเทียบการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลคุณภาพสูงโดยใช้กระบวนการทอร์รีแฟกชันและกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชัน
การศึกษาเปรียบเทียบการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลคุณภาพสูงโดยใช้กระบวนการทอร์รีแฟกชันและกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชัน (Comparative Production of High-Quality Biomass Fuel using Torrefaction and Hydrothermal Carbonization Processes)รองศาสตราจารย์...
ช้อนกาแฟพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อก-พอลิแลคติกแอซิด
รองศาสตราจารย์ ดร. ยอดธง ใบมาก และคณะหน่วยวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม E-mail address : [email protected]
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ออกแบบเครื่องกำเนิดสัญญาณความถี่สูง แบบสปินด์ทอล์ค เพื่อประยุกต์ใช้ในเทคโนโลยี การบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็ก
รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ.ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage Technology (MINT)