RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ

นักวิจัย มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ (low Calorie) จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อยด้วยเอนไซม์ ย่อยแป้งอย่างเอนไซม์อะไมเลส และเป็นข้าวทางเลือกสำหรับผู้ที่จำกัดจำนวนแคลลอรี่ในอาหารในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดีของเราในปัจจุบันอีกหนึ่งทางเลือก จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อย(แคลอรี่ตํ่า)” โดยจังหวัดมหาสารคามร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านปลาบู่ ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากข้าวขาวดอกมะลิ 105...

การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่" ชื่อทุนอุดหนุน  : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2565ผู้เรียบเรียง   :   รศ.ดร....

การออกแบบโมเลกุลของสารช่วยเพิ่มความเข้ากันได้สำหรับพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ระบบ พอลิแลคติกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง : ก การออกแบบโมเลกุลของสารช่วยเพิ่มความเข้ากันได้สำหรับพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ระบบ พอลิแลคติกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต ชื่อทุนอุดหนุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี...

บทความเรื่อง “จุดเกิดเห็ด เรียนรู้เรื่องเห็ดป่าและใช้คัดแยกเห็ดไทย แอพพลิเคชั่นฝีมือคนไทย สแกนหาเห็ดพิษ” จากนิตยสาร The Cloud

เรียบเรียงโดย : สิทธิโชค ศรีโช จากนิตยสาร The cloudต้นฉบับบทความ ‘คัดแยกเห็ดไทย’ แอปพลิเคชันสแกนเห็ดพิษฝีมือคนไทย ตัวช่วยให้กินเห็ดป่าได้อย่างปลอดภัย (readthecloud.co)

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

การค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และผู้ช่วยศาสตราจารย์...

คุณค่าของข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดู

"คุณค่าของข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดู"สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง พฤกษเคมีเบื้องต้น และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากเมล็ดข้าวดำพันธุ์ไทยที่ปลูกต่างฤดู ชื่อทุน  โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และงานสร้างสรรค์สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรีงบประมาณเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ปีงบประมาณ 2564ร่วมเรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัณฑนา...

บทความเชิงข่าว “เลือดใครในกายเธอ”

ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง ความหลากหลายและนิเวศวิทยาของแมลงที่เป็นปรสิตภายนอกและเป็นพาหะของเชื้อก่อโรคในไก่พื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยทุนอุดหนุนการวิจัยวิจัยงบประมาณเงินรายได้ประเภททุนนักวิจัยอาวุโส ประจำปี...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก

รศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับทีมวิจัยจากกรมทรัพยากรธรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและทีมวิจัยจากประเทศฝรั่งเศส สำรวจและค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก จากเหมืองถ่านหินเชียงม่วน จ.พะเยา และเหมืองถ่านหินแม่เมาะ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตรจากครีมสมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัด ใบว่านมหากาฬ และกระบวนการผลิต

ครีมสมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัดใบว่านมหากาฬตามการประดิษฐ์นี้ เป็นอิมัลชันชนิดน้ํามันในน้ํา (oil in water emulsion) ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ (1) ส่วนที่เป็นวัฏภาคน้ํา...

ผลของสารเชื่อมขวางต่อสมบัติของอนุภาคผสมเคราติน / ไข่ขาว

ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (Fast Track) ปีงบประมาณ 2565 สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "โครงสร้างและสมบัติเชิงความร้อนของอนุภาคผสมระหว่างเคราตินจากเส้นผมและโปรตีนไข่ขาว: อิทธิพลของสารเชื่อมขวางที่ต่างกัน "ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้...