RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ มมส ค้นพบกิ้งกือกระบอกสกุลใหม่ของโลก (new genus) จำนวนกว่า 10 สปีชีส์

ผศ.ดร. ปิยะธิดา พิมพ์วิชัยภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบกิ้งกือกระบอกสกุลใหม่ของโลก (new...

ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรมและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงริ้นดำ (Diptera : Simuliidae) ครั้งแรกในประเทศลาว

ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรมและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงริ้นดำ (Diptera: Simuliidae) ครั้งแรกในประเทศลาว ผศ.ดร.อิสระ ธานี ศ.ดร.ไพโรจน์...

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มมส ประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2567

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือนเมษายน พ.ศ.2567 (โดยรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-30 เมษายน 2567) จำนวน 18 ผลงานที่มา : งานวิจัย...

การค้นพบหอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลก จากแม่น้ำชี บริเวณบ้านท่าขอนยาง และบ้านท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม

รองศาสตราจารย์ ดร. บังอร กองอิ้มภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม หอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลกนี้มีความยาวของเปลือกถึง...

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ มมส ค้นพบการบำบัดน้ำเสียโดยอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาโฟโตคะตะไลซิสแบบอนุภาคทรงกลมกลวง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา เหลากูล และคณะภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในปัจจุบันการปนเปื้อนสารเคมีและโลหะหนักในแหล่งน้ำธรรมชาติยิ่งทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศน์...

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”

เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ

https://youtu.be/LsLNFOqszeQ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน อาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พร้อมคณะผู้วิจัย ได้พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ (Prototype development of...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สุภกร หาญสูงเนินอาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติเพื่อความยั่งยืนทางการเกษตร สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน (Biomimicry)ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ในนามมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้แก่...

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับอนุมัติจัดตั้งและสนับสนุนหน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ในระดับมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ประกาศจัดตั้งและสนับสนุนหน่วยวิจัย ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ให้มีความสามารถพัฒนางานวิจัยไปสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ และเพื่อให้ได้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตลอดถึงการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพสูงตามนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของเอเชีย ซึ่งมีพันธกิจที่จะพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาคาม ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย ให้เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาผลงานวิจัยให้บรรลุตามเป้าหมาย...