RESEARCH HIGHLIGHT

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มมส ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2567

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2567 (โดยรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-29 กุมภาพันธ์ 2567) จำนวน 18 ผลงานที่มา : งานวิจัย...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการพัฒนาฟิล์มเซลลูโลสจากธูปฤาษีเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์อาหาร

รศ.ดร.ประสงค์ สีหานาม นางสาวสุภัคศิริ คำก้อน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2565...

นักวิจัย คณะวิทย์ฯ มมส ใช้การจำลองโมเลกุลเพื่อศึกษาและออกแบบวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิตชนิดใหม่

การออกแบบและการจำลองโมเลกุลวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิต(Molecular modeling and simulation of polymer...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาสมการไดโอแฟนไทน์ 𝑎ˣ+(𝑎+2)ʸ=z² เมื่อ 𝑎 เป็นจำนวนเต็มบวกซึ่ง 𝑎≡⁣₂₁5

ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ งบประมาณเงินรายได้ ปีงบประมาณ 2566ผศ.ดร. นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ ผศ.ดร. โชคชัย วิริยะพงษ์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

การออกแบบโมเลกุลของสารช่วยเพิ่มความเข้ากันได้สำหรับพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ระบบ พอลิแลคติกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง : ก การออกแบบโมเลกุลของสารช่วยเพิ่มความเข้ากันได้สำหรับพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ระบบ พอลิแลคติกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต ชื่อทุนอุดหนุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปี...

ไลเคน…ชนิดใหม่ของโลกและดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ

รองศาสตราจารย์ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุลภาควิชาชีววิทยาและพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์ทางยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไลเคน คือ สิ่งมีชีวิตสองชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย (symbiosis) ไลเคนกําเนิดจากราและสาหร่ายท่ีมีความเฉพาะเจาะจงชนิดต่อกันเท่านั้น (คล้ายกับเนื้อคู่หรือ soulmate) ราสามารถจับคู่กับสาหร่ายสีเขียว (green...

กิ้งกือกระบอกเล็กชนิดใหม่ของโลกจากสกุล 𝘊𝘰𝘹𝘰𝘣𝘰𝘭𝘦𝘭𝘭𝘶𝘴 Pimvichai et al., 2020 สองชนิดจากประเทศไทย

งานวิจัยใหม่: กิ้งกือกระบอกเล็กชนิดใหม่ของโลกจากสกุล 𝘊𝘰𝘹𝘰𝘣𝘰𝘭𝘦𝘭𝘭𝘶𝘴 Pimvichai et al., 2020 สองชนิดจากประเทศไทย คณะผู้วิจัยนำโดย...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาชีวภัณฑ์ในรูปแบบผง ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน

จากผลงานวิจัย : การประยุกต์ใช้สูตรสำเร็จ Trichoderma asperellum MSU007 ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของทุเรียน (Application of Trichoderma asperellum...

อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนช่วยเหลือด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุศักดิ์ ขันคำ อาจารย์สังกัดภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับทุนช่วยเหลือด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากมูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (Thailand Toray...

บทความเชิงข่าว “เลือดใครในกายเธอ”

ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง ความหลากหลายและนิเวศวิทยาของแมลงที่เป็นปรสิตภายนอกและเป็นพาหะของเชื้อก่อโรคในไก่พื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยทุนอุดหนุนการวิจัยวิจัยงบประมาณเงินรายได้ประเภททุนนักวิจัยอาวุโส ประจำปี...