นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สำรวจและค้นพบพืชในวงศ์บอน (Araceae) ชนิดใหม่ของโลกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
รศ.ดร.วิลาวัณย์ พร้อมพรม รศ.ดร.วรรณชัย ชาแท่น และคณะฯภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ
นักวิจัย มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ (low Calorie) จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อยด้วยเอนไซม์ ย่อยแป้งอย่างเอนไซม์อะไมเลส และเป็นข้าวทางเลือกสำหรับผู้ที่จำกัดจำนวนแคลลอรี่ในอาหารในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดีของเราในปัจจุบันอีกหนึ่งทางเลือก จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อย(แคลอรี่ตํ่า)” โดยจังหวัดมหาสารคามร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านปลาบู่ ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากข้าวขาวดอกมะลิ 105...
ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรมและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงริ้นดำ (Diptera : Simuliidae) ครั้งแรกในประเทศลาว
ทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิจัยลักษณะทางพันธุกรรมและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงริ้นดำ (Diptera: Simuliidae) ครั้งแรกในประเทศลาว
ผศ.ดร.อิสระ ธานี ศ.ดร.ไพโรจน์...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบ ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม
“ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม”
ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์...
โปรตีนสกัดจากข้าวไทยที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รักฤดี สารธิมาภาควิชาเคมี...
เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ 𝑺𝒕𝒓𝒆𝒑𝒕𝒐𝒎𝒚𝒄𝒆𝒔 𝒑𝒉𝒚𝒕𝒐𝒑𝒉𝒊𝒍𝒂 sp. nov. ที่มีความสามารถในการผลิตสารปฏิชีวนะ
รศ.ดร. อรอุมา แก้วกล้า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แอคติโนแบคทีเรีย (Actinobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมบวก...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุระดับนาโนเพื่อพัฒนาเป็นระบบนำส่งยาในสิ่งมีชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยปฏิบัติการวิจัยเคมีซูปราโมเลคิวลาร์ (Supramolecular Chemistry)
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส การศึกษาพลวัติการแพร่เชื้อและการหมดไปของโรคโควิด-19
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติยา เทพารส ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณรายได้ ประจำปีงบประมาณ...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลว
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์การสกัดแบบวัฏภาคของเหลวระดับจุลภาคด้วย ตัวทำละลายที่สลับได้ในการเตรียมตัวอย่างสีเขียวของซัลโฟนาไมด์ชื่อทุนอุดหนุน : กองทุนส่งเสริม ววน. ประจำปีงบประมาณ 2565รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามE-mail...
คณะวิทยาศาสตร์ ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ “สบู่สมุนไพรต้านอนุมูลอิสระและต้านแบคทีเรีย”
เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศูนย์ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิธีลงนามการอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา...