RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร จากเครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้า

เครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้าให้มีคุณภาพคงที่และเป็นที่น่าพอใจต่อผู้บริโภค สิ่งสำคัญของเครื่องนี้คือการวัดสีให้ได้รูปแบบที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตต้องการและมีความน่าสนใจสำหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ยังสามารถวัดความเค็มเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความพอดีของปลาร้า ซึ่งจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีความอร่อยและสม่ำเสมอในทุกชุดของการผลิต

การพัฒนาวิธีการตรวจวัดและติดตามความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของประเทศไทยด้วยเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง : การพัฒนาวิธีการตรวจวัดและติดตามความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของประเทศไทยด้วยเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกลชื่อทุนอุดหนุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทส่งเสริมการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ประจำปีงบประมาณ 2564 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เรียบเรียง...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร “เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต”

อนุสิทธิบัตร เลขที่ 21476 เครื่องดื่มน้ำเต้าหู้ผงเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของถั่วครกและธัญพืช และกรรมวิธีการผลิต ผศ.ดร. รักฤดี สารธิมา ผศ.ดร....

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ

นักวิจัย มมส พัฒนาข้าวอาร์เอส แคลอรี่ต่ำ (low Calorie) จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อยด้วยเอนไซม์ ย่อยแป้งอย่างเอนไซม์อะไมเลส และเป็นข้าวทางเลือกสำหรับผู้ที่จำกัดจำนวนแคลลอรี่ในอาหารในแต่ละวันเพื่อสุขภาพที่ดีของเราในปัจจุบันอีกหนึ่งทางเลือก จากข้าวขาวดอกมะลิ 105 สูตรต้านทานการย่อย(แคลอรี่ตํ่า)” โดยจังหวัดมหาสารคามร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านปลาบู่ ต้องการสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากข้าวขาวดอกมะลิ 105...

การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพ แบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การเตรียมคอมพอสิตสามส่วนของพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์/ทัลคัม/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ซสำหรับใช้เป็นพลาสติกชีวภาพแบบต้านทานความร้อนและแบบใช้ครั้งเดียว ชื่อทุนอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีงบประมาณ 2566

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาสูตรสำเร็จเชื้อรา 𝑇𝑟𝑖𝑐ℎ𝑜𝑑𝑒𝑟𝑚𝑎 𝑎𝑠𝑝𝑒𝑟𝑒𝑙𝑙𝑢𝑚 MSU007 ชนิดน้ำ เพื่อประยุกต์ใช้ในภาคการเกษตร ลดปริมาณการใช้สารเคมี

รศ.ดร.วราภรณ์ สุทธิสา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกษตรกรรมเป็นภาคการผลิตที่สำคัญของประเทศไทย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงประสบปัญหาเกี่ยวกับการระบาดของโรคพืช โดยโรคพืชเป็นอุปสรรคสำคัญในการผลิตพืชเนื่องจากมีผลกระทบต่อคุณภาพของพืชโดยตรง...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลว

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์การสกัดแบบวัฏภาคของเหลวระดับจุลภาคด้วย ตัวทำละลายที่สลับได้ในการเตรียมตัวอย่างสีเขียวของซัลโฟนาไมด์ชื่อทุนอุดหนุน : กองทุนส่งเสริม ววน. ประจำปีงบประมาณ 2565รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหาสารคามE-mail...

“หอยทากบกชนิดใหม่ของโลก”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และอาจารย์ ดร. ศักดิ์บวร ตุ้มปี่สุวรรณ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบหอยทากบกชนิดใหม่ของโลก การค้นพบในครั้งนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร Raffle Bulletin of Zoology...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบไรน้ำออสตราคอดชนิดใหม่ของโลกจากจังหวัดกาญจนบุรี

Savatenalinton, S. (2023). On Chrissia muangkanensis, new species (Crustacea, Ostracoda) from Thailand, with notes on taxonomic characters...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สร้างเครื่องมือระดับโมเลกุลต้นทุนต่ำ ตรวจจับและแยกไอออนของทองคำ

รศ.ดร.ชาติไทย แก้วทอง ผศ.ดร.บรรจบ วันโนภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผลงานวิจัยเรื่อง : Rhodamine based-molecular chemosensors and...