RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของหญ้าเนเปียร์ที่ปลูกภายใต้สภาวะที่ปนเปื้อนอะทราซีน

รศ.ดร.ขนิษฐา สมตระกูล ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อะทราซีน เป็นสารกำจัดวัชพืชที่นิยมใช้ควบคุมวัชพืชในพืชไร่เศรษฐกิจ เช่น ข้าวโพด...

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน กรกฎาคม 2567

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำเดือน กรกฎาคม 2567 (นับจากวันที่ 26 มิ.ย.-25 ก.ค.67) จำนวน 11 ผลงาน

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารยับยั้งต่อการทำงาน ของโปรตีนฮีแมกกลูตินินของเชื้อไข้หวัดใหญ่ ด้วยระเบียบวิธีการจำลองพลวัติเชิงโมเลกุล

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารยับยั้งต่อการทํางานของโปรตีนฮีแมกกลูตินินของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ด้วยระเบียบวิธีการจําลองพลวัติเชิงโมเลกุล" ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย งบประมาณ เงินรับฝาก ประจําปีงบประมาณ 2565 ประเภททุน Fundamental...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอันดับสูงสุดร้อยละ 10 ของสาขาTop 10% หรือ Tier 1 journal ในปี 2024 (นับจากวันที่ 11...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมสได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอันดับสูงสุดร้อยละ 10 ของสาขาTop 10% หรือ Tier 1 journal ในปี 2024 (นับจากวันที่...

กระบวนการเพิ่มความแข็งเชิงผิวของเหล็กกล้าเครื่องมือโดยการทำพลาสมาไนไตรดิงที่อุณหภูมิต่ำ

จากผลงานวิจัยเรื่อง : การชุบผิวแข็งของเหล็กกล้างานร้อนโดยใช้เทคโนโลยีพลาสมา Surface hardening of hot work steels using plasma technologyผศ.ดร....

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก

รศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับทีมวิจัยจากกรมทรัพยากรธรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาและทีมวิจัยจากประเทศฝรั่งเศส สำรวจและค้นพบซากดึกดำบรรพ์จระเข้จากมหายุคซีโนโซอิก สกุลและชนิดใหม่ของโลก จากเหมืองถ่านหินเชียงม่วน จ.พะเยา และเหมืองถ่านหินแม่เมาะ...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาลักษณะการกําจัดเกลือของกกสองชนิด เพื่อเป็นตัวเลือกในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม

ถอดบทเรียนจากผลงานวิจัยเรื่อง : การศึกษาลักษณะการกําจัดเกลือของกกสองชนิด เพื่อเป็นตัวเลือกในการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็ม (Study Phytodesalinized Characteristics of Two Sedge Species as...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ศึกษาอิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง อิทธิพลของกรดซิตริกต่อความเข้ากันได้ของพลาสติกชีวภาพผสมของพอลิเอทธิลีนไกลคอล-บล็อค-พอลิแลคติกแอซิด/เทอร์โมพลาสติกสตาร์ช ชื่อทุนอุดหนุน Fundamental Fund ประจําปีงบประมาณ 2566 คณะผู้วิจัย นางสาวเยาวลักษณ์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาเส้นขอบเขตการขัดขวางแบบคูลอมบ์ของระบบเกาะควอนตัม

ผศ.ดร. ประธาน ศรีวิไล ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตีพิมพ์ในวารสาร : Journal...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส สร้างระบบตรวจวัดสารตกค้างในตัวอย่างอาหาร

รศ.ดร. จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตีพิมพ์ในวารสาร : RCS Advances (ISI Q2...