RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ คว้ารางวัลจากการประกวดนวัตกรรมระดับภูมิภาค (NESP Innovation Award 2021)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิษณุ พูลเจริญศิลป์ อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ได้รับรางวัลชมเชย ในสาขานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ จากการประกวดนวัตกรรมระดับภูมิภาค...

การค้นพบไรน้ำออสตราคอดวงศ์ย่อยใหม่ของโลก จากอ่างเก็บน้ำหนองบัว จ.มหาสารคาม

ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประเภททุนส่งเสริมอาจารย์และนักวิจัยปีงบประมาณ 2565 สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "ความหลากหลายทางชีวภาพของออสตราคอดในอ่างเก็บน้ำ หนองบัว อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม "ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้...

ไมโครเวฟเซ็นเซอร์สำหรับตรวจวัดความเข้มข้นของน้ำตาล

น้ำตาล (sugar) เป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ (monosaccharide) และไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide) ซึ่งมีอยู่ในพืช ผลไม้ อาหาร และเครื่องดื่มต่าง ๆ...

นักวิจัยคณะวิทย์ฯ คิดค้น “ตัวตรวจวัดพอลิเมอร์ฟิล์มบางสำหรับไอออนทอง”

เมื่อพูดถึงทองคำ แน่นอนไม่ว่าใครต่อใครก็อยากได้ แต่นอกจากเป็นเครื่องประดับแล้ว ทองคำยังมีประโยชน์อีกมากมายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในด้านการสร้างนาโนแมททีเรียลและเป็นตัวแคตตาลิตส์ นอกจากนั้นยังมีการใช้ทองนาโนในด้านการขนส่งยา การใช้ในเทคโนยีตัวตรวจวัด สิ่งทอ และเครื่องสำอาง แต่หารู้ไม่ว่าการสร้างทองนาโนนั้นเริ่มจากไอออนของทอง...

นักวิจัย คณะวิทย์ฯ มมส ใช้การจำลองโมเลกุลเพื่อศึกษาและออกแบบวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิตชนิดใหม่

การออกแบบและการจำลองโมเลกุลวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิต(Molecular modeling and simulation of polymer...

การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่

สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัยเรื่อง "การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนสูงสุดของประเทศไทยด้วยแบบจำลองค่าสุดขีดกรณีกระบวนการไม่คงที่" ชื่อทุนอุดหนุน  : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2565ผู้เรียบเรียง   :   รศ.ดร....

อุปกรณ์กำเนิดลำพลาสมาแบบหลายลำพ่นที่ดำเนินการได้ในสภาวะความดันหนึ่งบรรยากาศ

ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน และคณะ ได้ทำการพัฒนาหัวกำเนิดพลาสมาเจ็ตที่ความดันบรรยากาศรูปแบบต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้สำหรับงานเคลือบผิว (plasma surface coating) หรือปรับปรุงผิว (plasma surface modification) โดยใช้หลักการปล่อยแก๊สให้ไหลผ่านขั้วไฟฟ้าที่มีลักษณะเป็นรูเล็กๆ ที่บริเวณดังกล่าวต้องทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าด้วยแอมปลิจูดและความถี่สูง โมเลกุลของแก๊สที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงผ่านรูเล็กจะเกิดการชนกันเองมากขึ้น ในขณะเดียวกันอิเล็กตรอนที่ถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมาจะชนกับโมเลกุลของแก๊สด้วยความถี่สูงด้วยเช่นกัน...

โครงการชาวนามืออาชีพ โครงการที่บูรณาการงานวิจัยร่วมกับชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม

https://www.youtube.com/watch?v=ZpvCIKYrras ชื่อโครงการ: การยกระดับอาชีพเกษตรกรผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาสด้วยการพัฒนาทักษะอาชีพการเป็นชาวนาพึ่งพาตนเองได้ในวิถีความปกติใหม่...

ผลงานวิจัย “แบบจำลองวัสดุแม่เหล็กระดับอะตอมและการประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็ก”

รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวดี จุรีมาศ สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ทำการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านฟิสิกส์มาประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีบันทึกข้อมูลเช่น การออกแบบหัวอ่าน หัวเขียน แผ่นบันทึกข้อมูลในฮาร์ดดิสไดร์ฟ การออกแบบอุปกรณ์หน่วยความจำเข้าถึงแบบสุ่มเชิงแม่เหล็ก (Magnetoresistive random access memory, MRAM)...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุระดับนาโนเพื่อพัฒนาเป็นระบบนำส่งยาในสิ่งมีชีวิต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยปฏิบัติการวิจัยเคมีซูปราโมเลคิวลาร์ (Supramolecular Chemistry)