นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบ ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม
“ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม”
ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ประยุกต์ใช้กรดอะมิโนอิสระ ผสมในอาหารปลานิล ลดต้นทุนการผลิต
รศ.ดร. นพคุณ ภักดีณรงค์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กรดอะมิโนอิสระ Kera-Stim®...
นักวิจัย คณะวิทย์ฯ มมส ใช้การจำลองโมเลกุลเพื่อศึกษาและออกแบบวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิตชนิดใหม่
การออกแบบและการจำลองโมเลกุลวัสดุพอลิเมอร์นาโนคอมโพสิต(Molecular modeling and simulation of polymer...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาแบบจำลองขั้นสูงสำหรับการออกแบบ โครงสร้างรอยต่อทะลุผ่านเชิงแม่เหล็ก สำหรับการประยุกต์ใช้กับหน่วยความจำเข้าถึงแบบสุ่ม ในอนาคต
รศ.ดร.พรรณวดี จุรีมาศ รศ. ดร.เจษฎา จุรีมาศ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน่วยวิจัยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก Magnetic Information Storage...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส พัฒนาหัววัด Liquid-Scintillator-Filled Capillaries สำหรับวัดนิวตรอนพลังงาน 14 MeV ในเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน
รศ.ดร. สิริยาภรณ์ แสงอรุณ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หัววัด Liquid-Scintillator-Filled...
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์ (Enhancing the recording performance of next generation of hard disk drive...
พันขามหาสมบัติ
กิ้งกือ เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์ขาปล้อง (arthropod) พวกเดียวกับ แมลง กุ้ง ปู และแมงมุม ที่มีโครงร่างแข็งภายนอก กิ้งกือเป็นสัตว์ที่มีขาจำนวนมากที่สุดในโลก ซึ่งชื่อเรียกในภาษาอังกฤษคือ millipedes...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ได้รับอนุสิทธิบัตร จากเครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้า
เครื่องตรวจวัดสี กลิ่น และความเค็ม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อควบคุมคุณภาพของปลาร้าให้มีคุณภาพคงที่และเป็นที่น่าพอใจต่อผู้บริโภค
สิ่งสำคัญของเครื่องนี้คือการวัดสีให้ได้รูปแบบที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตต้องการและมีความน่าสนใจสำหรับผู้บริโภค นอกจากนี้ยังสามารถวัดความเค็มเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความพอดีของปลาร้า ซึ่งจะทำให้ผลิตภัณฑ์มีความอร่อยและสม่ำเสมอในทุกชุดของการผลิต
พืชชนิดใหม่ ชนิดย่อยใหม่ พันธุ์ใหม่ และการนำไปใช้ประโยชน์ในอุทยานแห่งชาติและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
เถารักน้อย Dischidia phuphanenis Chatan & Promprom พบที่อุทยานแห่งชาติภูผายล...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลว
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์การสกัดแบบวัฏภาคของเหลวระดับจุลภาคด้วย ตัวทำละลายที่สลับได้ในการเตรียมตัวอย่างสีเขียวของซัลโฟนาไมด์ชื่อทุนอุดหนุน : กองทุนส่งเสริม ววน. ประจำปีงบประมาณ 2565รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามE-mail...