RESEARCH HIGHLIGHT

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

การค้นพบหอยทากบก 5 ชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และผู้ช่วยศาสตราจารย์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคุณสมบัติของวัสดุระดับนาโนเพื่อพัฒนาเป็นระบบนำส่งยาในสิ่งมีชีวิต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามหน่วยปฏิบัติการวิจัยเคมีซูปราโมเลคิวลาร์ (Supramolecular Chemistry)

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ชูกำแพง พร้อมคณะ สารละลายธาตุอาหารที่ใช้ในการผลิตพืชซีลีเนียมอินทรีย์สูงโดยการปลูกแบบไฮโดรโพนิกส์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์เครื่องตรวจวัดความหนาแน่นและความสดของไข่

https://www.youtube.com/watch?v=LETUCaXwKfM เครื่องตรวจวัดความสดของไข่ เป็นการนำเสนอเทคนิคในการตรวจวัดความสดของไข่แบบไม่ทำลาย ผ่านการตรวจวัดความหนาแน่นของไข่ ซึ่งระบบที่นำเสนอสามารถทำการคัดแยกเกรด และระบุความสดของไข่ได้แบบเวลาจริง ระบบไม่ซับซ้อน...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบ ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม

“ริ้นสกุล Culicoides สปีชีส์ใหม่ของโลกในจังหวัดมหาสารคาม” ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ คว้ารางวัลจากการประกวดนวัตกรรมระดับภูมิภาค (NESP Innovation Award 2021)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิษณุ พูลเจริญศิลป์ อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ได้รับรางวัลชมเชย ในสาขานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ จากการประกวดนวัตกรรมระดับภูมิภาค...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สุภกร หาญสูงเนินอาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติเพื่อความยั่งยืนทางการเกษตร สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน (Biomimicry)ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ในนามมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้แก่...

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ

https://youtu.be/LsLNFOqszeQ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน อาจารย์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พร้อมคณะผู้วิจัย ได้พัฒนาเครื่องต้นแบบเคลือบสิ่งทอโดยใช้พลาสมาความดันบรรยากาศ (Prototype development of...

วช.หนุน ม.มหาสารคาม ปูทางสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพครบวงจร

จากกระแสอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลกส่งผลให้ “พลาสติกชีวภาพ (Bio plastic)” ได้เริ่มเป็นที่กล่าวถึงและได้รับความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ  เพราะสามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต ประเทศไทยจึงอยู่ในสถานะที่ได้เปรียบเพราะเป็นฐานการเกษตรใหญ่ที่สุดในอาเซียน แต่สถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยกลับอยู่ในช่วงเริ่มต้น มีผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพเพียงเล็กน้อยโดยนำเข้าเม็ดพลาสติกชีวภาพจากต่างประเทศเกือบทั้งหมด เพื่อนำมาขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยเครื่องจักรผลิตพลาสติกธรรมดา...