นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาตัวทำละลายทางเลือกใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการสกัดแบบวัฏภาคของเหลว
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การประยุกต์การสกัดแบบวัฏภาคของเหลวระดับจุลภาคด้วย ตัวทำละลายที่สลับได้ในการเตรียมตัวอย่างสีเขียวของซัลโฟนาไมด์ชื่อทุนอุดหนุน : กองทุนส่งเสริม ววน. ประจำปีงบประมาณ 2565รองศาสตราจารย์ ดร.จิตรลดา วิชาผง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามE-mail...
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลแม่เหล็กแบบใช้ความร้อนช่วยผ่านรูปแบบจำลองเชิงคอมพิวเตอร์ (Enhancing the recording performance of next generation of hard disk drive...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิธีก่อผลึกชีวภาพ สำหรับพลาสติกชีวภาพ
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การเตรียมผงสเตอริโอคอมเพล็กซ์พอลิแลคติกแอซิดด้วยการเกิดพอลิเมอร์แบบควบแน่นโดยตรงที่มีศักยภาพใช้เป็นสารช่วยก่อผลึกชีวภาพสำหรับพลาสติกชีวภาพ
ชื่อทุนอุดหนุน Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566คณะผู้วิจัย รองศาสตราจารย์...
เอนโดไฟติกแอคติโนแบคทีเรียสปีชีส์ใหม่ 𝑺𝒕𝒓𝒆𝒑𝒕𝒐𝒎𝒚𝒄𝒆𝒔 𝒑𝒉𝒚𝒕𝒐𝒑𝒉𝒊𝒍𝒂 sp. nov. ที่มีความสามารถในการผลิตสารปฏิชีวนะ
รศ.ดร. อรอุมา แก้วกล้า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แอคติโนแบคทีเรีย (Actinobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมบวก...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ค้นพบ New Record ไลเคนบนหินในประเทศไทย
รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบไลเคนบนหินชนิดที่ยังไม่เคยมีรายงานในประเทศไทยมาก่อน (New records) สกุล Porina จำนวน...
หอยหางดิ้นสีนิล: หอยทากบกชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
รศ.ดร. ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ และ ผศ.ดร.ศักดิ์บวร ตุ้มปี่สุวรรณ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ร่วมกับ ผศ.ดร. กิตติ...
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาวิธีเพิ่มความยืดหยุ่นให้พลาสติกชีวภาพ
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง สัณฐานวิทยาเฟส, สมบัติเชิงกล และสมบัติเชิงความร้อนของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิแอลแลคไทด์-บล็อค-พอลิเอทธิลีน-บล็อค-พอลิแอลแลคไทด์เสริมแรงด้วยแคลเซียมคาร์บอเนตคณะผู้วิจัย : รองศาสตราจารย์ยอดธง ใบมาก รองศาสตราจารย์ประสงค์ สีหานามและอาจารย์วิริยา ทองสมบูรณ์หน่วยวิจัยพอลิเมอร์แตกสลายทางชีวภาพได้ ภาควิชาเคมี...
การค้นพบหอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลก จากแม่น้ำชี บริเวณบ้านท่าขอนยาง และบ้านท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม
รองศาสตราจารย์ ดร. บังอร กองอิ้มภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลกนี้มีความยาวของเปลือกถึง...
การประเมินประสิทธิภาพของเชื้อ Streptomyces spp. ในการควบคุมการเจริญของเชื้อรา Fusarium oxysporum f. sp. lycopersici และการส่งเสริมการเจริญเติบโตในมะเขือเทศ
Evaluation of soil Streptomyces spp. for the growth inhibition of Fusarium oxysporum...
กระบวนการซินเตอร์แบบสองขั้นตอน
สังเคราะห์และถอดบทเรียนจากงานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลของการเจือสารประกอบออกไซด์ที่มีต่อระบบผลึกของวัสดุผสมอะลูมินาและเซอร์โคเนียโดยใช้เทคนิกการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ทุนอุดหนุนการวิจัย : ทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริม ววน. ประจำปีงบประมาณ 2565 รศ.ดร.อรวรรณ ฤทธิเดช ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์...